วันพุธที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันพุทธ ที่ 31 มกราคม  พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ

        วันนี้อาจารย์ได้แจกกระดาษให้คนล่ะ1 แผ่น  แต่กระดาษนั้นมีจำนวนน้อยกว่า นักศึกษา อาจารย์จึงได้สอดแทรกการสอนคณิตศาสตร์ในการใช้วิธีดารแจกกระดาษ     อาจารย์ได้ให้ตัวแทนออกไปเขียนสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

  1. กระดาษน้อยกว่าคน
  2. กระดาษ <   คน
  3. 17         <    19
  4. 19 -17 = 2


  • การแจกกระดาษก็เป็นกิจกรรมที่ทำให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงในการเรียนคณิตศาสตร์จากสิ่งที่อยู่รอบตัว



อาจารย์ได้ให้พับกระดาษแบ่งเป็น2ส่วนตามความคิดของนักศึกษา

 


  • พัฒนาการ  คือ  พฤติกรรมที่แสดงออกในความสามารถแต่ละระดับอายุ  กาย อารมณ์-จิตใจ  สังคม และ สติปัญญา
  • ลักษณะพัฒนาการ   
การเปลี่ยนแปลงเป็นลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง >เชื่อมโยงตลอด >สมอง   ( เหมือนขั้นบันได)

  • สมอง   คือการซึมซับ  (Assimalation)

กระจาย > ความรู้เดิม + ความรู้ใหม่  = ความรู้ใหม่ (accommodation)


การประเมินผล


ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์และตอบคำถาม
ประเมินเพื่อน   : ช่วยกันแสดงความคิดเห็นและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินอาจารย์  : อาจารย์สอนได้สนุก เข้าใจ ผ่านการลงมือจริงจากสิ่งที่อยู่รอบตัว ฝึกให้นักศึกษาคิดจากสิ่งที่ได้เรียน

วันพฤหัสบดีที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2561

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันพุทธ ที่ 24  มกราคม  2560
ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้อาจารย์ไม่ได้เข้าสอนเนื่องจากติดประชุมจึงให้นักศึกาาออกแบบสื่อคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


              มาใส่เลขให้ถูกกันเถอะ

อุปกรณ์
1.ไม้อันติมหลายๆสี
2กระป๋องน้ำ
3.สีไม่
4.กระดาษสี

วิธีการเล่น
1.ให้เด็กๆดูเลขที่อยู่ด้านหน้ากระป๋อง
2.ใส่ไม้ไอติมให้ตรงกับสีและตัวเลขที่กำหนด


ประโยชน์ที่ได้รับ
1.ได้ออกกำลังกล้ามเนื้อมัดเล็ก
2.ส่งเสริมทักษะการคิดนับเลข
3.เรียนรู้เรื่องสี  และจำนวน
4.พัฒนาการด้านสติปัญญา



การประเมินผล
ประเมินตนเอง  :  ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินเพื่อน   :  เพื่อนๆทุกคนตั้งใจทำงาน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ติดประชุมค่ะ

วันเสาร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2561

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันศุกร์ที่19 มกราคม  2560

ความรู้ที่ได้รับ

   วันนี้าจารย์ได้ให้ทำมายแมพ  การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  มี3 หัวข้อใหญ่คือ
1.การจัดประสบการณ์
2.คณิตศาสตร์
3.เด็กปฐมวัย

 โดยให้นักศึกษา 3 หัวข้อนี้จาก Course Syllabus ที่อาจารย์ได้แจกให้ในสัปดาห์ที่แล้ว






แผ่นที่1 อาจารย์ให้นักศึกษาลองร่างก่อนแล้วอาจารย์ได้บอกวิธีแก้ไขแมพที่ถูกต้องให้นักศึกษาฟัง




แผ่นที่2  เริ่มทำได้ออกมาได้ถูกต้อง ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงของตัวเราว่ามีการพัฒนาขึ้น กสรทำมายแมพอย่างเป็ระบบ มีระเบียบและเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น


   อาจารย์ได้ให้นักศึกษาออกแบบชื่อเล่นของตนเอง แบบติดกันแล้วให้นำมาแปะบนกระดาน โดยใช้เกณฑ์การแบ่งเป็น คนตื่นก่อน 08.00น. และคนตื่นหลัง 08.00 น.  จากที่ได้เห็นพบว่าคนที่ตื่นก่อน 08.00 น. มีจำนวนน้อยกว่า คนที่ตื่นหลัง 08.00 น.  



    อาจารย์ได้ให้แต่ล่ะคนลุกขึ้นไปหยิบชื่อเพื่อนแล้วนำมาแปะข้างล่าง  แบบ 1 ต่อ 1 สุดท้ายเหลือ 4รายชื่อที่ยังไม่ได้หยิบ ทำให้รู้ว่า  คนที่ตื่นหลัง 08.00 น. มีจำนวน มากกว่า คนที่ตื่นนอน 08.00 อยุ่ 4 คน จากการทำกิจกรรมครั้งนี้ ทำให้เราสามารถนำมาใช้ในการสอนเด็กเรื่องคณิตศาสตร์ ในการ บวก ลบ เลข  สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้ โดยใช้สิ่งที่อยู่ใกล้ๆตัวเด็ก จะทำให้เด็กเข้าใจได้ง่าย





การประเมินผล

ประเมินตนเอง   :  ตั้งใจทำกิจกรรมและฟังอาจารย์สอน
ประเมินเพื่อน     :  ตั้งใจในการทำงาน ให้ความร่วมมือกับอาจารย์
ประเมินอาจารย์ :  สอนได้อย่างสนุกผ่านการเล่น ทำให้นักศึกาาเข้าใจง่าย




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันศุกร์ที่  12  มกราคม 2560

ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้เป็นวันแรกที่อาจารย์ได้พบเจอนักศึกษา  อาจารย์ได้อธิบายถึง การเรียนการสอน  คะแนนเก็บ วิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ได้สอนวิธีทำบล็อกที่ถูกต้องและให้หาบทความ  วิจัยที่เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  ตัวอย่างสื่อการสอน




การประเมินผล

ประเมินตนเอง   :  ตั้งใจฟังอาจารย์สอน
ประเมินเพื่อน     :  ตั้งใจฟัง แต่งกายเรียบร้อย
ประเมินอาจารย์ : อธิบายงานอย่างชัดเจน คอยตอบึำถามถ้าหากนักศึกษาสงสัย

ตัวอย่างการสอน

เรียนรู้การบวกเลขหนึ่งหลัก ( อนุบาล 2 )




  • โรงเรียนอนุบาลทองขาว
  • เป็นการสอนเด็กบวบลบเลข โดยการใช้นิ้วมือนับและนับไว้ในใจ  ให้เด็กๆทุกคนมีส่วนร่วมในการตอบตัวเลข








      วิจัย เรื่องทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่ได้รับการกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
  •  ปริญญานิพนธ์   พิจิตรา  เกษมประดิษฐ์
  •  หลักสูตรปริญญาการศึกาามหาบัณฑิต   สาขาการศึกษาปฐมวัย   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • ปีการศึกษา 2552
ความมุ่งหมายของการวิจัย 
  • เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม  ศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ

ขอบเขตของการวิจัย 
       ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ 3 – 4 ปีซึ่งกําลังศึกษา อยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่ สังกัด สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จํานวน 81 คน
 กลุ่มตัวอย่าง  
      กลุ่มตัวอย่างทที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเดกปฐมวัยชาย-หญงิ ที่มีอายุ 3 – 4 ปีซึ่งกำลัง ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1/3  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนบาลกุ๊กไก่ สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จํานวน 20 คน 
ตัวแปรที่ศึกษา 
  •  ตัวแปรต้น คือการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมขนมอบ 
  • ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร
นิยามศัพท์เฉพาะ
  1. เด็กปฐมวัย
  2.  กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
  3. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
กรอบแนวคิดการวิจัย
สมมติฐานของการวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ทากํ ิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น

 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีดังนี้ 
  1.   แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
  2.   แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

การดําเนินการทดลอง

  1.  ขอความร่วมมือกับผู้บริหารโรงเรียนในการทําวิจัย  
  2.  ทําการทดสอบก่อนการทดลองกับนักเรียนกลุ่มทดลอง ด้วยแบบทดสอบทักษะพื้นฐาน ทางคณิตศาสตร  
  3.  ดําเนินการทดลองกับกลุ่มทดลอง โดยให้นักเรียนทํากิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ กลุ่มละ 5 คน จํานวน 4 กลมุ่ เป็นเวลา 8 สัปดาห์    สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 20 นาที ระหว่างเวลา 10.00 – 10.20 น. รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง จํานวน 24 กิจกรรม
  4.  เมื่อครบ 8 สัปดาห์แล้วทําการทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังการทดลองด้วย แบบทดสอบฉบับเดียวกับก่อนการทดลอง
  5.   นําข้อมูลที่ได้จากการทดสอบไปวิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติเพื่อสรุปผลการวิจัย 
  6.  การแปลผลระดับของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  
  7.  การแปลผลระดับของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ การแปลผลระดับของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยในการศึกษาวิจัย ครั้งนี้กําหนดการแปลผลในภาพรวมและจําแนกรายด้าน ดังต่อไปนี้






สรุปผลการวิจัย
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูง กว่าก่อนการทดลองทํากิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
















ดูเพิ่มเติมได้ที่
https://www.google.co.th/url?sa=t&source=web&rct=j&url=http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Pigitra_K.pdf&ved=2ahUKEwiSr5ODpujYAhWJto8KHd83DBIQFjAAegQIFBAB&usg=AOvVaw0Mb1blISlrQYF-MgJeXunw

บทความ  คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ผู้แต่ง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ

           การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัดกระทำ กับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา การจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กได้พัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุด 
        การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยหมายถึง การจัดสภาพการณ์ในชีวิตประจำวันของเด็กเป็นฐานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งครูต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างดี ประกอบด้วยกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กค้นคว้า แก้ปัญหา พัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และความคิดรวบยอด ที่เหมาะสมกับระดับพัฒนาการ เด็กแต่ละวัยจะมีความสามารถเฉพาะ เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง บรรยากาศการเรียนต้องไม่เคร่งเครียดเด็กรู้สึกสบายๆในขณะเรียน เห็นความสัมพันธ์ของคณิตศาสตร์ในธรรมชาติ บ้าน โรงเรียน กิจกรรมสอดคล้องกับชีวิตประจำวัน



ดูเพิ่มเติมได้ที่
http://www.e-child-edu.com/youthcenter/content/articles/math-for-child.html