บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540
ความรู้ท่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้ออกมานำเสนอบทความ
เรื่อง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัดกระทำ เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว
- รู้จักการแก้ไขปัญหา
- การเรียนการสอนต้องไม่เครียด
- เห็นความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ ที่บ้าน ที่โรงเรียน ในชีวิตประจำวัน
- ให้เด็กนับของที่ต้องใช้ในการรับประทานอาหาร
- การเปรียบเทียบจำนวนชาย - หญิง ในห้องเรียน ว่าใครมีมากกว่ากัน
วิจัย การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
เพื่อนได้ออกมานำเสนองานวิจัย โดยได้อธิบายได้ โด้วิจัยนี้รูปแบบการสอนมี6 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ
ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน
ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นที่ 4 ขั้นทบทวน
ขั้นที่ 5 ขั้นนําเสนอ
ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผลการเรียนรู้
อาจารย์ได้บอกถึงวิธีการนำเสนอในครั้งต่อไป บอกถึงวิธีการนำเสนอที่ถูกต้องและน่าสนใจมากขึ้น จากนั้นอาจารย์ได้แจกกระดาษใหคนล่ะ 1 แผ่น
วิธีการสอนคณิตศาตร์ให้กับเด็ก โดยเรียนรู้จากสิ่งรอบตัว เรียนรู้ถึงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
กระดาษนั้นมีจำนวนที่ มากกว่า คนอยู่ 4 แผ่น
- กระดาษ > คน = 4 แผ่น
- 21 > 17 = 4 แผ่น
- 21 - 17 = 4
การสอนคณิตศาสตร์โดยดูจากเด็กที่ชอบกินส้มตำกับลาบไก่ ผลออกมาว่าเด็กที่ชอบกินส้มตำนั้นมีจำนวนที่มากกว่า ลาภไก่ เราใช้วิธีโดยการแบบจับคู่ 1:1 เเป็นแผนภูมิเหมือนกับในวิธีที่แจกกระดาษ
อาจารย์ได้ให้นักศึกษคิดว่า
- คณิตศาสตร์เกิดขึ้นทุกหนแห่ง
- คณิตศาสตร์เมื่อไรบ้าง
กิจกรรมสุดท้ายอาจารย์ได้สอน การใช้สัญลักษณ์ในการแทนจังหวะปรบมือ การตบมือให้ตรงจังหวะกับเพลงและทำให้เราเรียนรู้ถึงจังหวะการเพิ่มท่าทางในจังหวะแลพร้องเพลงเด็กปฐมวัย
การประเมินผล
ประเมินตนเอง: ตั้งใจฟังอาจารย์และร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินเพื่อน : เพื่อนตั้งใจเรียนและช่วยกันตอบคำถาม
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์คอยให้คำแนะนำแก่นักศึกษาเป็นอย่างดี สอนสนุก ฝึกให้นักศึกษาใช้ความคิด